นางสันทนี ดิษยบุตร (Mrs. Santanee Ditsayabut)
ผู้อำนวยการสำนักงานเลขาธิการสถาบันนิติวัชร์
Director of the Secretariat Office of Nitivajra Institute,
Office of the Attorney General
ประวัติการทำงาน
สำนักงานอัยการสูงสุด
- ผู้อำนวยการสำนักงานเลขาธิการสถาบันนิติวัชร์ ต.ค. 63 - ปัจจุบัน
- อัยการจังหวัดคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เม.ย. 63 - มี.ค. 64
- อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดนครนายก เม.ย.62 - มี.ค.63
อัยการจังหวัดประจำสำนักงานอัยการสูงสุด
- ผู้ช่วยเลขานุการรองอัยการสูงสุด ต.ค. 58 - เม.ย. 62
- รองโฆษกสำนักงานอัยการสูงสุด ก.ค. 57 - ก.ย. 58
- สำนักงานที่ปรึกษากฎหมาย เม.ย. 56 - ก.ย. 58
- เลขานุการสำนักงานกิจการและโครงการในพระดำริ ต.ค. 54 - เม.ย. 56
- พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา และปฏิบัติราชการ ในตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการอัยการสูงสุด อีกหน้าที่หนึ่ง( ธ.ค. 54 – ต.ค. 56)
อัยการประจำกรม
- เม.ย.51 - ก.ย. 54ผู้ช่วยเลขานุการรองอัยการสูงสุด (นายวัยวุฒิ หล่อตระกูล)
- สำนักงานต่างประเทศ มี.ค. 47 - มี.ค. 51
รองอัยการจังหวัด
- สำนักงานอัยการจังหวัดนนทบุรี พ.ค. 46 - ก.พ. 47
อัยการจังหวัดผู้ช่วย
- สำนักงานอัยการจังหวัดนนทบุรี(แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว) พ.ค. 45 - เม.ย. 46
- อัยการประจำกอง สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีอาญา 3 ม.ค. 45 - เม.ย. 45
- อัยการผู้ช่วย สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีอาญา 3 ม.ค. 44 - ม.ค. 45
สำนักงานสหประชาชาติว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรม ( United Nations Office on Drugs and Crime / UNODC)
- ผู้เชี่ยวชาญประจำภูมิภาค ( Regional Expert, Terrorism Prevention Branch) เม.ย. 48 - ธ.ค. 48
สำนักงานกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
- นิติกร ฝ่ายกฎหมาย พ.ย. 38 - ส.ค. 41
ประวัติการศึกษา
- นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (LL.M.) ปีการศีกษา 2543 มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทุนรัฐบาล ตามความต้องการของสำนักงานอัยการสูงสุด
- นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (MLI) ปีการศึกษา 2542 มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทุนรัฐบาล ตามความต้องการของสำนักงานอัยการสูงสุด
- เนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 48 โดยสอบไล่ได้อันดับที่ 1 ปีการศีกษา 2538 สำนักอบรมและศีกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- นิติศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยม อันดับ 1 พ.ศ. 2538 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ฝึกอบรม
- หลักสูตร Draper Hills Summer Fellow on Democracy and Development พ.ศ. 2564 มหาวิทยาลัย Stanford ประเทศสหรัฐอเมริกา
- หลักสูตร Executive Program on Rule of Law and Development (RoLD) พ.ศ. 2560 สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย
- หลักสูตร Leadership for Women in Law Enforcement พ.ศ. 2559
- หลักสูตรผู้นำแห่งอนาคต รุ่นที่ 7 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พ.ศ. 2558
- หลักสูตรผู้นำยุคใหม่ในระบอบประชาธิปไตย รุ่นที่ 3 สถาบันพระปกเกล้า พ.ศ. 2556
- ทุนศึกษาวิจัยด้านปัญหาองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติกับการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา พ.ศ. 2552 Institute of Intellectual Property (IIP) ประเทศญี่ปุ่น
- ทุนฝึกอบรมหลักสูตรการควบคุมการทุจริตในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. 2550 United Nations Asia and Far East Institute for the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders (UNAFEI) ประเทศญี่ปุ่น
- ทุนฝึกอบรมหลักสูตรการระงับข้อพิพาท พ.ศ. 2549 ประเทศแคนาดา
- ทุนฝึกอบรมโครงการ IATSS พ.ศ. 2546 ณ เมืองซูซูกะ ประเทศญี่ปุ่น
ผลงานทางวิชาการ
- รายงานการวิจัย International Harmonization of National Laws and Policies for Effective Prevention and Suppression of Intellectual Property Violation, Published by Institute of Intellectual Property, Japan, March 2010.
- บทความเรื่องความสอดคล้องของการบริหารงานยุติธรรมกับแนวทางของสหประชาชาติ
- ตีพิมพ์ในวารสาร มหาวิทยาลัยรามคำแหง ฉบับนิติศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555
กิจกรรมทางวิชาการ/ประกาศเกียรติคุณ
- กรรมการที่ปรึกษา (Advisory Council) คณะกรรมาธิการผู้เชี่ยวชาญเพื่อพัฒนามาตรฐานระหว่างประเทศเรื่องการสอบปากคำที่ไม่เป็นการข่มขู่บังคับ (Steering Committee of experts driving forward the development of a universal set of guidelines on non-coercive interviewing and attendant legal safeguards)
- ผู้อภิปรายในการประชุมคู่ขนาน (Side Event) เรื่อง ความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรอาชญากรรมและการก่อการร้าย (Exploring the Nexus Between Organized Crime and Terrorism) ในระหว่างการประชุมคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (CCPCJ) สมัยที่ 25 พ.ศ. 2559 ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย
- กรรมการ คณะกรรมการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องด้านกระบวนการยุติธรรมในคดีค้ามนุษย์ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๘๖/๒๕๕๘
- ประธานในการหารืออย่างไม่เป็นทางการ ( Informal Consultation) หัวข้อการสังหารผู้หญิงอันเนื่องมาจากเพศสภาพ (Femicide) ในระหว่างการประชุมคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (CCPCJ) สมัยที่ 23 พ.ศ. 2557 ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย
- ประธานร่วมในการประชุมอย่างไม่เป็นทางการ (Informal consultation) เพื่อเสนอร่างข้อมติสหประชาชาติ เรื่องยุทธศาสตร์ต้นแบบและแนวทางปฏิบัติของสหประชาชาติในการขจัดความรุนแรงต่อเด็ก (Draft resolution on the UN Model Strategies and Practical Measures on the Elimination of Violence against Children) ในระหว่างการประชุมคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา (CCPCJ) สมัยที่ 22 พ.ศ. 2556 ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย
- Certificate of Appreciation for Outstanding Contributions in the Field of Drug Law Enforcement กระทรวงยุติธรรม ประเทศสหรัฐอเมริกา
- โล่ห์ประกาศเกียรติคุณนิสิตเก่าดีเด่น คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- โล่ประกาศเกียรติคุณการสอบเนติบัณฑิตไทย สมัยที่ 48 ได้อันดับที่ 1
งานด้านการศึกษา
- อาจารย์ผู้บรรยายในระดับปริญญาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายวิชา กฎหมายแพ่งและอาญา (ภาคภาษาอังกฤษ)
- อาจารย์ผู้บรรยายในระดับปริญญาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รายวิชา การระงับข้อพิพาททางการค้า
- อาจารย์ผู้บรรยายในระดับปริญญามหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รายวิชา English for Legal Study and Research
Principles on Effective Interviewing for Investigations and Information Gathering
Professional Experience:
- Director of the Secretariat Office of Nitivajra Institute Oct 2020 - present
- Provincial Chief Public Prosecutor on Juvenile and Family Litigation 2020- 2021 of Ayutthaya Province
- Provincial Chief Public Prosecutor on Civil Rights Protection, Legal Aid, 2019- 2020 and Legal Execution of Nakhon Nayok Province
- Assistant Secretary to the Deputy Attorney General 2015-2019
- Deputy Spokesperson of the Office of the Attorney General 2014-2015
- Provincial Public Prosecutor, Department of Legal Consultancy 2013-2015
- Assistant Secretary to the Attorney General & Provincial Public Prosecutor,Oct 2011- 2013 Office of the Affairs and Projects under HRH Princess Bajrakitiyabha’s Initiatives
- Assistant Secretary to the Deputy Attorney General Apr 2008- Sep 2011
- Public Prosecutor, Department of International Affairs Feb 2004-Apr 2008
- Regional Expert, on secondment for the Terrorism Prevention Branch (TPB/UNODC) Apr-Dec 2005 The United Nations Office on Drugs and Crime (UNODC), Bangkok, Thailand
- Provincial State Attorney, Department of Juvenile and Family Litigation, May 2002-Mar2004 Nonthaburi, Thailand
Assistant State Attorney, Department of Criminal Litigation Jan 2001- Apr 2002
Educational Credentials:
- University of Pennsylvania Law School, Philadelphia, PA, USA Master of Laws (LL.M.), May 2000 Thai Government Scholarship
- University of Wisconsin Law School, Madison, WI, USA Master of Legal Institution (MLI), July 1999 Thai Government Scholarship
- The Institute of Legal Education, Thai BAR Association, Bangkok, Thailand Barrister-at-Law, June 1996 Award for Highest Ranking in the 1995 Educational Session
- Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand Bachelor of Laws (LL.B.) with First Class Honors, May 1995
Professional Training & Certification & Award
- The Inauguration Meeting of the Doctrinal Development Group (DDG) on Investigative Interviewing, Oslo, Norway, 8-11 January 2020.
- Training course on Investigative Interview, International Law Enforcement Academy (ILEA), Bangkok, 2018
- TIJ Executive Program on the Rule of Law & Development (RoLD), Bangkok, 2017
- Workshop for Emerging Leaders on the Rule of Law & Policy, Thailand Institute of Justice (TIJ) in collaboration with the Institute for Global Law & Policy (IGLP) Harvard Law School, Bangkok, 2017
- Training course on Leadership for Women in Law Enforcement, International Law Enforcement Academy (ILEA), 2016
- Training program on Future Leaders, National Defence College of Thailand, 2014
- Training course on Political Leadership in the New Era, King Prajadhipok’s Institute, 2013
- Invited Researcher of The Institute of Intellectual Property of Japan on the Topic of International Harmonization National Laws and Policies for Effective Prevention and Suppression of Intellectual Property Violation, Jun-Dec 2009 , Tokyo , Japan
- Training course on Corruption control in the criminal justice system organized by United Nations Asia and Far East Institute for the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders (UNAFEI) , Oct-Nov 2007,Tokyo , Japan
- Training Course on Conflict Resolution organized by Canadian Government, Feb 2006, Ottawa, Canada
- Certificate of Appreciation from the US Department of Justice for Outstanding Contributions in the Field of Drug Law Enforcement 2006
- Outstanding Alumnus Award, Chulalongkorn University, 1998
- Award for Highest Ranking in the 1995 Educational Session, Thai Bar Association of Thailand
Selected Professional and Academic Contribution:
- Member of Advisory Council for the Principles on Effective Interviewing for Investigation and Information Gathering, adopted in May 2021 with the support of Anti-Torture Initiative (ATI), the Prevention of Torture (APT), and the Norwegian Centre for Human Rights (NCHR)
- Guest Speaker at the seminar on “the adversarial skills in criminal cases infringing health, honour, and dignity where women and children are victims”, organized by the United Nations Office on Drugs and Crime (UNODC) Regional Office for Southeast Asia and the Pacific, Vietnam, 2019
- Visiting Expert to deliver a public lecture “Thailand’s effort to end violence against women which is one form of crime motivated by gender discrimination” at the Ministry of Justice of Japan, 2019
- Speaker at the AICHR Cross-Sectoral Consultation on the Human-Rights Based Instruments Related to the Implementation of the ASEAN Convention against Trafficking in Person, especially Women and Children, Indonesia, 2017
- Visiting Expert at the 166th International Training Course on Criminal Justice Procedures and Practices to Disrupt Criminal Organizations, UNAFEI, Japan, 2017
- Speaker at the side event on Emerging TOC Challenges based on Regional Context and Related Law Enforcement Response at the 26th CCPCJ, Austria, 2017
- Speaker at the academic forum on Countering Emerging Threats and Challenges of Transnational Organized Crime at the 1st ASEAN Conference on Crime Prevention and Criminal Justice (ACCPCJ), hosted by TIJ, Bangkok, 2016
- Speaker at the side event on Exploring the nexus between organized crime and terrorism at the 25th CCPCJ, Austria, 2016
- Member of the special committee to improve the criminal justice procedure for trafficking in persons case appointed by the Prime Minister of Thailand, 2015
- Chair person in an informal consultation on femicide at the 23rd CCPCJ, 2014
- Chair person in an informal consultation on the draft resolution on Model Strategies and Practical Measures on the Elimination of Violence against Children at the 22nd Commission on Crime Prevention and Criminal Justice (CCPCJ), 2013
- Invited Researcher of The Institute of Intellectual Property of Japan (IAP) on the Topic of International Harmonization National Laws and Policies for Effective Prevention and Suppression of Intellectual Property Violation, Japan, Jun-Dec 2009
- Member of the national task force for organizing the 11th UN Congress on Crime Prevention and Criminal Justice hosted by Thailand, 2005
- Lecturer at Chulalongkorn University, 2014-Present
นางธีราพร สุริสีหเสถียร (Ms. Thiraporn Suriseehasathian)
ตำแหน่ง อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดอ่างทอง สำนักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดอ่างทอง
Provincial Chief Public Prosecutor, Office of Ang Thong Provincial Public Prosecution on Civil Rights Protection, Legal Aid and Legal Execution
ประวัติการศึกษา (Education Background)
ปริญญาโทกฎหมาย สาขากฎหมายมหาชน Queen Mary, University of London ประเทศสหราชอาณาจักร LL.M. in Public Law Queen Mary, University of London, United Kingdom
นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายเอกชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Master’s Degree in Private Law, Thammasat University
นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Bachelor’s Degree of Law (Second-Class Honors), Thammasat University
ประวัติการทำงาน (Work Experiences)
รับผิดชอบเป็นคณะทำงานและเลขานุการคณะทำงานขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก สำนักงานอัยการสูงสุดตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๘ ถึง ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยกำหนดแผนปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมการใช้ยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา และยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติแห่งสหประชาชาติฉบับปรับปรุงว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิงในด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา
ในสำนักงานอัยการสูงสุด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ถึง ๒๕๖๓
Take responsible for secretary in working group on elimination of violence against women and children of the Office of the Attorney General to set action plans to promote implementation of UN Model Strategies and Practical Measures on the Elimination of violence against children in the Crime Prevention and Criminal Justice and Updated UN Model Strategies and Practical Measures on the Elimination of violence against Women in the Crime Prevention and Criminal Justice.
มีส่วนในการผลักดันให้มีการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีชั้นก่อนฟ้องคดี
เพื่อลดจำนวนเด็กเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมซึ่งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ในการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ทั้งในส่วนของการจัดโครงการร่วมกับกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ในการสัมมนาเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีชั้นก่อนฟ้องคดี และในส่วนของการกำหนดแนวทางเพื่อให้พนักงานอัยการได้ให้ความตระหนักเกี่ยวกับการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นก่อนฟ้องคดี
Participate in urging application of special measures instead of litigation prior to prosecution in order to decrease the number of juveniles in contact with criminal justice system according to the purpose on the elimination of violence against children in UN model strategies and practical measures on both initiating the project involving to tackling issues of implementation by such special measures under cooperation with Department of Juvenile Observation and Protection and Unicef and creating guidelines for public prosecutors to recognize implementing such special measures.
ขณะรับราชการอยู่ที่ศูนย์อัยการคุ้มครองสิทธิเด็ก เยาวชน และสถาบันครอบครัว
เป็นผู้จัดโครงการหลักสูตรพัฒนาศักยภาพอัยการให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองเด็ก ร่วมกับองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) จำนวน ๕ รุ่น โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๕ มีพนักงานอัยการเข้าร่วมอบรม รวมทุกรุ่นทั้งสิ้น ๑๖๒ คน นอกจากนี้ เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อเกี่ยวกับการคุ้มครองเด็กและการคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว และการทำงานแบบทีมสหวิชาชีพ ให้แก่ พนักงานอัยการ ผู้เข้าอบรมเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่คุ้มครองเด็ก พนักงานเจ้าหน้าที่คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ผู้เข้าอบรมเพื่อสอบเป็นนักสังคมสงเคราะห์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ผู้พิพากษาสมทบ นักเรียนนายร้อยตำรวจ พนักงานสอบสวนหญิง บุคลากรสาธารณสุข (OSCC โรงพยาบาล) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรสตรี และNGO รวมถึงหน่วยงานอื่น ๆ
During performing duties at Public Prosecutor Center of child rights and family institute protection, she had organized the curriculum of the capacity building for public prosecutor as experts of the child protection project for
5 batches since B.E. 2560. At present, there have been 162 public prosecutors across the country who have passed this course. Furthermore, she has been the lecturer and speaker relating to laws and guidelines of child protection, domestic violence, and Juvenile litigation to public prosecutors, polices, child protection officers including officers in
Government and Non
– Government sector.
ปฏิบัติราชการอยู่ที่สำนักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดปทุมธานีนั้น เป็นผู้รับผิดชอบในการประสานพนักงานอัยการ สำนักงานอัยการจังหวัดในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ได้แก่ สำนักงานอัยการจังหวัด สำนักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปทุมธานี และสำนักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัดปทุมธานี และการประสานหน่วยงานราชการภายนอก เช่น พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดปทุมธานี บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดปทุมธานี โรงพยาบาลจังหวัดปทุมธานี สถานีตำรวจภูธรในท้องที่จังหวัดปทุมธานี ในเรื่องการทำงานทีมสหวิชาชีพ และการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในด้านการป้องกันอาชญากรรม ด้านการคุ้มครองเด็กและผู้หญิงที่เป็นผู้เสียหาย และด้านการคุ้มครองเด็กและผู้หญิงที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพื่อมิให้เกิดความรุนแรงต่อเด็กและผู้หญิง นอกจากนี้ ได้เข้าประชุมทีมสหวิชาชีพร่วมกับพมจ.ปทุมธานี บ้านพักเด็กฯ จ.ปทุมธานี โรงพยาบาลจังหวัดปทุมธานี เพื่อให้คำปรึกษาในด้านกฎหมายให้แก่ทีมสหวิชาชีพในหลายๆ คดี
Previously serving as a provincial public prosecutor at Office of
Provincial Prathum Thanee Civil Rights Protection, Legal Aid and Legal Execution, she was a case manager to coordinate and collaborate with public prosecutor, OSCC team in health sector, child protection officers, domestic violence officers, social workers and police acting as multi – disciplinary team in order to respond to the case of violence against child or domestic violence.
เป็นตัวแทนของพนักงานอัยการไทยในการนำเสนอบทบาทพนักงานอัยการไทยเกี่ยวกับการนำยุทธศาสตร์ต้นแบบและมาตรการเชิงปฏิบัติแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อเด็กในด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญามาใช้ในประเทศไทย ในเวทีที่ประชุมระหว่างประเทศซึ่งจัดโดย UNODC ร่วมกับ TIJ และสำนักงานอัยการสูงสุด รวมถึงเป็นตัวแทนในการนำเสนอบทบาทของพนักงานอัยการไทยในการขจัดความรุนแรงต่อแรงงานหญิงข้ามชาติ ให้แก่เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรป (EU) ประจำประเทศไทย และผู้แทนประเทศต่าง ๆ ๑๐ ประเทศ ซึ่งจัดโดย UN WOMEN และ ILO
Moreover, she was a representative from Thailand to present the roles of Thai public prosecutors as to implementation of UN Model Strategies and Practical Measures on the elimination of violence against children in the crime prevention and criminal justice in the symposium held by UNODC, TIJ and OAG as well as elimination of violence against migrant women to ambassador of EU, UN Woman, ILO and representatives from several countries
ได้เขียนบทความเชิงวิชาการ เรื่อง “อัยการไทยกับการคุ้มครองเด็กในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (Thai Prosecutors on Child Protection in Criminal Justice)” ลงในจุลสารประชาคมอัยการอาเซียน Thailand ฉบับที่ ๘ เดือนมกราคม ค.ศ. ๒๐๑๘ และเรื่อง “การคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชนกับการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาชั้นก่อนฟ้องคดีในความผิดต่อรัฐ”ลงในวารสารอัยการ ฉบับ ว่าด้วยสตรีและเยาวชน (วารสารอัยการ ปีที่ ๒๕ ฉบับที่ ๒๖๒ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๕)) และเป็นอาจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บรรยายในส่วนของบทบาทของพนักงานอัยการในกระบวนการยุติธรรมสำหรับเด็กและเยาวชน ในวิชา น. ๓๑๗ กฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน
In academic term, she has written articles relating to “the role of Thai public prosecutors as for child protection in criminal justice” and “the Juvenile’s rights protection for application of special measures instead of juvenile litigation prior to prosecution”. She has also been an extra lecturer in faculty of law in Thammasat University for the law of Juvenile in criminal justice.
นางพัชรินทร์ พฤทธิพงศ์สิทธิ์
ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ประวัติการศึกษา
- พยาบาลศาสตร์บัณฑิต พ.ศ. 2536 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สาขาการพยาบาลและผดุงครรภ์
- สาขาการพยาบาลแม่และเด็ก พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต พ.ศ. 2540 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- วุฒิบัตรความรู้ความชำนาญเฉพาะทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2549
- การพยาบาลเฉพาะทางสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น พ.ศ. 2550 สถาบันราชานุกูลสภาการพยาบาล สาขาการพยาบาลเด็ก(กลุ่มเด็กที่ถูกกระทำรุนแรง)
- China พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยมหิดลอบรม 8th Leadership Course on Gender, Sexuality & Health in Southeast Asia and
- อบรมหลักสูตรพยาบาลเพื่อการบริหารหอผู้ป่วย รุ่นที่ 12 พ.ศ.2566 สภาพยาบาลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ฯ
ประวัติการทำงาน
- พ.ศ. 2536-2538 หอผู้ป่วย Acute care เด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
- พ.ศ. 2541-2543 หอผู้ป่วยพิเศษ 3 โรงพยาบาลรวมแพทย์ระยอง
- พ.ศ. 2544-2548 งานห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลระยอง
- กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลระยอง และเป็นเลขานุการ คณะกรรมการศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรีทึ่ถูกกระทำรุนแรง พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน APN Child Abuse ศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรีทึ่ถูกกระทำรุนแรง
- โรงพยาบาลระยองพ.ศ. 2555 – 2565 พยาบาลให้คำปรึกษาคลินิกสุขภาพวัยรุ่น(ศูนย์บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น)
- พ.ศ. 2565 – ปัจจุบัน หัวหน้าหอผู้ป่วยพิเศษร่มเกล้าชั้น12 โรงพยาบาลระยอง
รางวัลที่ได้รับ
- พ.ศ. 2547 ได้รับโล่ผู้มีพฤติกรรมบริการดีเด่นของโรงพยาบาลระยอง
- พ.ศ. 2554 ได้รับวุฒิบัตรบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดระยองดีเด่น
- พ.ศ. 2558 ได้รับรางวัลพยาบาลดีเด่น สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย(สาขาภาคตะวันออก)
ผลงานวิชาการ
- พ.ศ. 2551 การเยียวยาเด็กที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศ
- พ.ศ. 2552 การศึกษาพฤติกรรมทางเพศในวัยรุ่นและการพัฒนารูปแบบกิจกรรมสำหรับวัยรุ่นที่มารับบริการในศูนย์OSCC รพ.ระยอง
- พ.ศ. 2553 เสาะหา สร้างสรรค์ สานสัมพันธ์ก่อนเกิดการทอดทิ้งทารกในโรงพยาบาล
- พ.ศ. 2554 Kit set ฉับไว ปลอดภัยทุกขั้นตอน
- พ.ศ. 2555 ผลการเฝ้าระวังการทอดทิ้งทารกในโรงพยาบาลระยอง
- พ.ศ. 2556 การพัฒนาเครือข่ายการดูแลเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงในโรงพยาบาลชุมชนของจังหวัดระยอง
- พ.ศ. 2557 ลักษณะทางครอบครัว ปัจจัยทางสังคมและการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นที่มีเพศสัมพันธ์แล้วที่เข้ารับการช่วยเหลือในศูนย์ช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงในโรงพยาบาลระยอง
- พ.ศ. 2558 การพัฒนาระบบคัดกรองการทารุณกรรมในเด็ก แนวทางการช่วยเหลือและคุ้มครองเด็กระดับตำบลและแนวทางการส่งต่อในเครือข่ายระดับจังหวัด
- พ.ศ. 2564 Safe Box เพื่อความมั่นใจในการเก็บวัตถุพยาน
ความชำนาญด้านวิทยากร
ความรุนแรงในเด็กและสตรี การคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวเพศศึกษา ทักษะการใช้ชีวิตวัยรุ่น
1) เรื่อง การพัฒนาระบบบริการช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง วันที่ 21 มีนาคม 2562
จัดโดยโรงพยาบาลบางพลี
2) เรื่อง ความรู้และทักษะพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในศูนย์พึ่งได้รุ่นที่1 วันที่ 26 เมษายน2562 และรุ่นที่ 2 วันที่ 12 กรกฎาคม 2562 จัดโดยภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล
3) เรื่อง การดูแลช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงในโรงพยาบาลระยองแก่แพทย์ใช้ทุน ปีพ.ศ.2562 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 จัดโดยโรงพยาบาลระยอง
4) เรื่อง การเฝ้าระวังและป้องกันความรุนแรงต่อเด็ก สตรีและบุคคลในครอบครัว วันที่ 26 พฤศจิกายน 2562 จัดโดยสำนักงานเทศบาลตำบลมาบข่าพัฒนา
5) เรื่อง การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อป้องกันความรุนแรงในครอบครัว วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 จัดโดยโรงพยาบาลวังจันทร์
6) เรื่อง การดูแลช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงในโรงพยาบาลระยองแก่แพทย์ใช้ทุน ปีพ.ศ.2563 วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 จัดโดยโรงพยาบาลระยอง
7) เรื่อง การดูแลช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงในโรงพยาบาลระยองแก่แพทย์ใช้ทุน
ปีพ.ศ. 2564 วันที่ 20 พฤษภาคม 2564 จัดโดยโรงพยาบาลระยอง
8) เรื่อง การประสานความร่วมมือในการช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกทารุณกรรม รุ่นที่ 1 วันที่ 21 พฤษภาคม 2564 และ รุ่นที่2 วันที่ 23 กรกฎาคม 2564 จัดโดยคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
9) เรื่อง สาเหตุปัญหาความรุนแรงในสถาบันครอบครัวและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน และทีมสหวิชาชีพในการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำความรุนแรง วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จัดโดยสำนักงานเทศบาลตำบลทับมา
10) เรื่อง การจัดการความรู้เพื่อช่วยเหลือผู้ถูกกระทำความรุนแรงในสังคม วันที่ 28 เมษายน 2565
จัดโดยองค์การบริหารส่วนตำบลเขาชะเมา
11) เรื่อง การดูแลช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงในโรงพยาบาลระยองแก่แพทย์ใช้ทุน
ปีพ.ศ.2565 วันที่ 18 พฤษภาคม 2565 จัดโดยโรงพยาบาลระยอง
12) เรื่อง การประสานความร่วมมือในการช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกทารุณกรรม วันที่ 9 สิงหาคม 2565 จัดโดยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
13) เรื่อง รูปแบบการกระทำความรุนแรงต่อสตรีพิการและเด็กหญิงพิการและวิธีการป้องกันความรุนแรง วันที่ 29 สิงหาคม 2565 จัดโดยสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย จังหวัดระยอง
14) เรื่อง การดูแลช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงในโรงพยาบาลระยองแก่แพทย์ใช้ทุน
ปีพ.ศ.2566 วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 จัดโดยโรงพยาบาลระยอง
15) เรื่อง การคัดกรองการถูกทารุณกรรมในเด็กและสตรี รุ่นที่ 1 วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 และรุ่นที่ 2 วันที่ 17 สิงหาคม 2566 จัดโดยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
16) เรื่อง การประสานความร่วมมือในการช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกทารุณกรรม รุ่นที่ 1 วันที่
21 กรกฎาคม 2566 และรุ่นที่ 2 วันที่ 18 สิงหาคม 2566 จัดโดยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
Education :
2009 Certificate of 8th Leadership Course on Gender, Sexuality & Health in Southeast Asia and China : Mahidol Univ
2007 Certificate of Nursing Specialty in Child and Adolescent Mental Health and Psychiatric
Nursing : Rajanukul Institute
2006 Diploma of Advanced Practice Nurse ( Child Abuse ): Thailand Nursing and Midwifery Counsil
1997 Master of Nursing (Maternal and Child) :Mahidol University
1993 Bachelor of Nursing (Nursing and Midwifery) : Chiangmai University
Work Experience:
1993-1995 Registered Nurse at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital
1998-2000 Registered Nurse at Ruamphat Rayong Hospital
2001-Now Registered Nurse at Rayong Hospital
2006-Now Registered Nurse at OSCC (One Stop Crisis Center) at Rayong Hospital
Skill:
- Violence
- Child and adolescent Nursin
ร้อยตำรวจโทหญิง จิตติมา กำธรวิวรรธน์
เกิดวันที่ 23 สิงหาคม 2521 อายุ 44 ปี
ตำแหน่งปัจจุบัน อัยการจังหวัดประจำสำนักงานอัยการสูงสุด สำนักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดระยอง
การศึกษา
- ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ปริญญาโท นิติศาสตร์มหาบัณฑิต สาขากฎหมายอาญา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เนติบัณฑิตไทย
ประวัติการทำงาน
- พ.ศ.๒๕๔๕ – ๒๕๔๘ รองสารวัตร (นิติกร) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- พ.ศ.๒๕๔๘ – ๒๕๕๐ อัยการผู้ช่วย สำนักงานอัยการสูงสุด
- พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ รองอัยการจังหวัดอุดรธานี
- พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ รองอัยการจังหวัดพล
- พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ รองอัยการจังหวัดหนองบัวลำภู
- พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ อัยการประจำสำนักงานอัยการสูงสุด สำนักงานอัยการ พิเศษฝ่ายคดียาเสพติด ๑๐
- พ.ศ.๒๕๕๘ คณะอนุกรรมาธิการการปฏิรูปการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดให้โทษ ในคณะกรรมาธิการปฏิรูป กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สภาปฏิรูปแห่งชาติ
- พ.ศ.๒๕๕๙ – ๒๕๖๑ อัยการจังหวัดประจำสำนักงานอัยการสูงสุด สำนักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการ บังคับคดีจังหวัดระยอง
- พ.ศ.๒๕๖๑ – ปัจจุบัน อัยการจังหวัดประจำสำนักงานอัยการสูงสุด
- สำนักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัดระยอง
ประสบการณ์การทำงาน
1. การดำเนินคดีอาญาทั่วไป
2. การดำเนินคดีแพ่งให้กับหน่วยงานรัฐ
3. การทำงานคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพให้กับประชาชน ทั้งการให้คำปรึกษา กฎหมาย และการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาและทางแพ่ง
4. การดำเนินคดียาเสพติด
5. การดำเนินคดีเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนผู้กระทำความผิด
6. คณะทำงานโครงการเครือข่ายหน่วยทำงานการปฏิบัติและแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ในฐานะผู้กระทำผิดและผู้เสียหายด้วยความเสมอภาค
7. ผู้ชำนาญการด้านความมั่นคง มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมถ์
ความรู้ที่เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน
โครงการหลักสูตรพัฒนาศักยภาพอัยการให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองเด็ก รุ่นที่2
วิทยากรหลักสูตรวิถีพอเพียงสร้างภูมิคุ้มกันตนเองและหลักนิติธรรมให้แก่เด็ก
ครอบครัวและชุมชน
ร่วมทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลในพื้นที่จังหวัดระยอง
หลักสูตรอบรมทีมสหวิชาชีพเพื่อกระบวนการยุติธรรมที่เป็น<
การประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์ต้นแบบของสหประชาชาติในการขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็กกับบริบทกฎหมายและทางปฏิบัติของประเทศไทย (Utilization of United Nations Model Strategies and Practical Measures on the Elimination of Violence against Women and Children with the legal and practical context of Thailand)
ยุทธศาสตร์ต้นแบบของสหประชาชาติในการขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก เป็นแนวทางสำคัญในการประยุกต์ใช้สำหรับหน่วยงานของรัฐและผู้ปฏิบัติงานทุกภาคส่วนในการปกป้องผู้หญิงและเด็กจากความรุนแรงทางร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นการขจัดความรุนแรงต่อเด็ก แม้ว่าเด็กทุกคนมีสิทธิได้รับการคุ้มครองจากความรุนแรง การล่วงละเมิด และการแสวงประโยชน์ ที่มีอยู่ในมาตรา 19 ของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) แต่ก็ยังคงมีประเด็นที่เด็กเสี่ยงต่อการถูกกระทำความรุนแรง เมื่อเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ประเทศไทยในฐานะผู้นำในกระบวนการยกร่างยุทธศาสตร์ต้นแบบฯ ตลอดจนการมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็ง ตระหนักถึงความจำเป็นเร่งด่วน ที่จะจัดการกับความรุนแรงต่อเด็ก ในด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา และในยุทธศาสตร์ต้นแบบฯ ยังเน้นการใช้มาตรการทางเลือกอื่นแทนการฟ้องคดี การนำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้เพื่อแก้ไขฟื้นฟูเด็กมากกว่าการลงโทษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำงานเกี่ยวกับเด็กที่ยังต้องมีการปฏิรูป รวมทั้งแก้ไขฟื้นฟู และต้องมีอีกหลายหน่วยงานเข้ามาเสริม เพื่อให้เกิดการบูรณาการแก้ปัญหาเหยื่ออย่างเป็นระบบ ป้องกันไม่ให้เด็กที่เสี่ยงกลายเป็นผู้เสียหายหรือกลายเป็นผู้กระทำความผิด ด้วยการออกแบบแนวทางการป้องกันทั้งในเชิงพื้นที่และในเชิงปัญหาให้ชัดเจน โดยเฉพาะเมื่อ “เด็กเป็นผู้กระทำผิดจริง” ต้องกำหนดมาตรฐานและมาตรการที่เหมาะสมกับเด็กให้ได้ และทำให้มาตรการที่กำหนดเป็นไปได้อย่างแท้จริง รวมถึงต้องกำกับติดตามผลอีกด้วย อีกทั้งในประเทศไทยได้มีการทำงานของศูนย์บริการช่วยเหลือเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง หรือ ศูนย์พึ่งได้ (OSCC) ซึ่งเป็นทำงานอย่างบูรณาการของสหวิชาชีพต่างๆ ดังนั้นในการทำงานผู้ปฏิบัติจึงต้องทราบข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูงสุด