นายเกิดโชค  เกษมวงศ์จิตร

ตำแหน่ง รองอธิบดี กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม 

Kerdchoke Kasemwongjit, Deputy Director-General of Rights and Liberties Protection Department (RLPD), Ministry of Justice

ประวัติการศึกษา

  • นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาฯ
  • ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน ธรรมศาสตร์

ผลงานที่สำคัญ

  • รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพกระทรวงยุติธรรม
  • กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างกฎหมาย ‘สมรสเท่าเทียม’

นายกิตตินันท์ ธรมธัช

ตำแหน่ง นายกสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย

Kittinun Daramadhaj, President of Rainbowsky Association of Thailand

ประวัติการศึกษา

นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ผลงานที่สำคัญ

  • นายกสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
  • กรรมการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ

นายภัทรดนัย เสตสุวรรณ

ตำแหน่ง ผู้ทรงอิทธิพลทางโซเชียลมีเดียและนักจิตบำบัด

Pataradanai Setsuwan, Social Media Influencer and Psychotherapist

ประวัติการศึกษา

  • PHD in Existential Psychotherapy, University of Middlesex, UK 
  • Master of Psychology  (MSc) University of Middlesex, UK

ผลงานที่สำคัญ

  • ผู้ทรงอิทธิพลทางโซเชียลมีเดียและนักจิตบำบัด
  • Social Media Influencer and Psychotherapist

ผศ.ดร.กิตติ ชยางคกุล

ตำแหน่ง อาจารย์คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Assistant Professor Dr.Kitti Jayangakula, Lecturer, Faculty of Social Administration, Thammasat University

ประวัติการศึกษา

  • นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาฯ
  • Master of Laws in International Human Rights Law, Lund University, Sweden
  • นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาฯ
  • นิติศาสตรบัณฑิต ธรรมศาสตร์

ผลงานที่สำคัญ

  • อาจารย์ประจำภาควิชานโยบายสังคม การพัฒนาสังคมและการพัฒนาชุมชน
  • ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

 


ความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ)

การถูกล่วงละเมิดในบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) พบเพิ่มมากขึ้นในสังคม และความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับกลุ่ม LGBTQ ก็ไม่ได้อันตรายน้อยไปกว่ากลุ่มคนอื่น ๆ ดังนั้น ทุกคนสามารถตกเป็นเหยื่อของการถูกล่วงละเมิดและความรุนแรงได้ ไม่ว่าพวกเขาจะมีเชื้อชาติ อายุ เพศ รสนิยมทางเพศ อัตลักษณ์หรือการแสดงออกทางเพศ ระดับการศึกษา หรือสถานะทางเศรษฐกิจก็ตาม แต่การล่วงละเมิดในความสัมพันธ์ของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศอาจมีลักษณะเฉพาะที่พิเศษออกไป เพราะเหยื่อยังอาจมีเผชิญกับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของความรุนแรงอีกด้วย เพราะเหตุการถูกข่มขู่ในการเปิดเผยรสนิยมทางเพศหรืออัตลักษณ์ทางเพศของบุคคลที่ตกเป็นเหยื่อนั้น ดังนั้น สังคมควรหันมาสร้างความเข้าใจ และตระหนักรู้ต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในมิติต่าง ๆ ตั้งแต่มิติทางสังคมเริ่มตั้งแต่การเลี้ยงดูบุตร หรือการดำเนินชีวิตร่วมกันกับกลุ่ม LGBTQ มิติสุขภาพโดยเฉพาะเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข รวมไปถึงมิติทางกฎหมายเพื่อการรับรองการเข้าถึงสิทธิอย่างเสมอภาค และเท่าเทียม

The incidence of discrimination against individuals with diverse sexual orientations and gender identities (LGBTQ) is increasing in society, and the violence against the LGBTQ  is not less dangerous than that faced by other groups in society. Consequently, anyone can be a victim of discrimination and violence, regardless of their ethnicity, age, gender, sexual orientation, gender identity, or expression, educational level, or economic status. However, discrimination in the relationships of individuals with diverse sexual orientations may have unique characteristics because victims may face an increased risk of violence due to threats of disclosing their sexual orientation or gender identity. Therefore, society should turn towards building understanding and awareness for individuals with diverse sexual orientations in various dimensions, starting from aspects of socialization and child-rearing to living together with LGBTQ groups. This includes health dimensions, particularly accessing public health services, as well as legal dimensions for equal recognition of access to rights and equality.