แพทย์หญิงบุญสิริ จันทศิริมงคล

ตำแหน่ง สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 1


นายวุฒิชัย พุ่มสงวน

ตำแหน่ง อัยการจังหวัดประจำสำนักงานอัยการสูงสุด สำนักงานคดีเยาวชนและครอบครัว


นายประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ สถาบันอิศรา


นายสันติ ศิริธีราเจษฎ์

ตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านงานคุ้มครองเด็ก องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย


 


ภัยคุกคามในโลกออนไลน์ และบทบาทสื่อต่อความรุนแรงในสังคม

การเสวนาในหัวข้อ “ภัยคุกคามในโลกออนไลน์และบทบาทของสื่อต่อความรุนแรงในสังคม” เน้นการอภิปรายถึงอันตรายที่เด็กและเยาวชนเผชิญในโลกออนไลน์ ผลกระทบที่เกิดต่อเด็กและเยาวชน ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และอภิปรายถึงบทบาทของสื่อต่อความรุนแรงในสังคม และแนวปฏิบัติในการป้องกันและแก้ไขข้อท้ายดังกล่าว โดยเวทีเสวนาจะครอบคลุมประเด็นสำคัญดังนี้

  • สถานการณ์ความรุนแรงรูปแบบต่างๆที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย

  • ความเสี่ยง และรูปแบบของการคุกคามทางออนไลน์ เช่น การกลั่นแกล้งทางอินเทอร์เน็ต การล่วงละเมิดทางเพศ การแพร่กระจายข้อมูลคลาดเคลื่อนและข้อมูลที่บิดเบือน

  • ผลกระทบของภัยคุกคามต่อเด็กและเยาวชน เช่น ปัญหาทางสุขภาพกายและสุขภาพจิต 

  • ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และการบังคับใช้กฎหมาย

  • บทบาทของสื่อต่อความรุนแรงในสังคม การนำเสนอข่าวสารและเนื้อหาที่มีความรุนแรง

  • แนวทางการป้องกันและแก้ไข การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชน การช่วยเหลือและเยียวยาผู้เสียหาย และการสร้างจริยธรรมในสื่อ

  • ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ครอบครัว โรงเรียน หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน รวมถึงเด็กเยาวชน และครอบครัวในการแก้ไขปัญหา

  • Various instances of violent situations experienced by children and youth in Thailand.

  • Threats and manifestations of online harassment, including cyberbullying, sexual harassment, and misinformation and disinformation.

  • Impact to the well-being of children and youth, encompassing both physical and mental health issues.

  • Pertinent legal considerations and relevant legislations, the role of law enforcement in addressing these matters.

  • Influence of media on societal violence, including the reporting of  violent information and content.

  • Recommendations for prevention and intervention, focusing on strengthening the resilience of children and youth, supporting victims, and promoting ethical media practices.

  • Collaboration across multiple sectors, including families, schools, governmental bodies, private organizations, and youth themselves, to effectively tackle these challenges.

สรุป:

ภัยคุกคามในโลกออนไลน์ เป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน จำเป็นต้องมีวิธีการป้องกันและแก้ไข ด้วยการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันเด็ก สร้างจริยธรรมในสื่อและความร่วมมือจากทุกภาคส่วน